โดเมน ( Domain) และ เรนจ์ ( Range
) ของความสัมพันธ์ โดเมน ของความสัมพันธ์ ได้แก่ เซตของสมาชิกตัวหน้าของคู่อันดับ
ทั้งหมด ในความสัมพันธ์นั้น กล่าวคือ พิกัด
x ทั้งหมดที่ยอมรับได้ เขียนแทนด้วย โดเมน ( Domain) เรนจ์ ของความสัมพันธ์ ได้แก่ ส อ่านเพิ่มเติม
วันจันทร์ที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็ม หมายถึง
ระยะที่จำนวนเต็มนั้นอยู่ห่างจากศูนย์ไปกี่หน่วย ดังนั้น
ค่าสัมบูรณ์ของจำนวนเต็มจึงเป็นบวกเสมอ ยกเว้นค่าสัมบูรณ์ของศูนย์
ซึ่งมีค อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2560
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
คู่อันดับ (Order Pair) เป็นการจับคู่สิ่งของโดยถือลำดับเป็นสำคัญ เช่น
คู่อันดับ a, b จะเขียนแทนด้วย (a, b) เรียก a ว่าเป็นสมาชิกตัวหน้า และเรียก b ว่าเป็นสมาชิกตัวหลัง(การเท่ากับของคู่อันดับ) (a, b) = (c, d) ก็ต่อเมื่อ a
= c และ
b = d ผลคูณค อ่านเพิ่มเติม
การไม่เท่ากัน
การเปรียบเทียบจำนวนสองจำนวนว่ามากกว่าหรือน้อยกว่าได้
โดยเขียนอยู่ในรูปประโยคสัญลักษณ์ เช่น n แทนจำนวนเต็ม
n > 5 หมายถึง จำนวนเต็มทุกจำนวนที่มากกว่า 5 เช่น 6
,7
,8
,... n ≤ 1 หมายถึง
จำวนเต็มทุกจำนวนที่น้อยกว่าหรือเทท่ากับ 1 เช่น 1 ,0 ,-1 ,-2, ...
n = 4 หมายถึง จำน อ่านเพิ่มเติม
สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
จำนวนจริง จำนวนตรรกยะ (rational number) เป็นจำนวนจริงที่สามารถเขียนได้ในรูปเศษส่วนของจำนวนเต็มที่ตัวส่วนไม่เป็นศูนย์
และเขียนในรูปทศนิยมซ้ำได้
จำนวนอตรรกยะ (irrational number) เป็นจำนท
อ่านเพิ่มเติม
จำนวนจริง
จำนวนจริง
คือจำนวนที่สามารถจับคู่หนึ่งต่อหนึ่งกับจุดบนเส้นตรงที่มีความยาวไม่สิ้นสุด
(เส้นจำนวน) ได้ คำว่า จำนวนจริง นั้นบัญญัติขึ้นเพื่อแยกเซตนี้ออกจากจำนวนจินตภาพ
จำนวนจริงเป็นศูนย์กลางการศึกษาในสาขาคณิตวิเคราะห์จำน อ่านเพิ่มเติม
การให้เหตุผลแบบนิรนัย
การให้เหตุผลแบบนิรนัยเป็นวิธีการให้เหตุผลโดยสรุปผลจากข้อความซึ่งเป็นความจริงทั่วไปมาเป็นข้ออ้างเพื่อสนับสนุนให้เกิดข้อสรุปที่เป็นความรู้ใหม่ที่เป็นข้อสรุปส่วนย่อยข้อสรุปที่ได้จากการให้เหตุผลแบบนิรนัยนั้นจะเป็นข้อสรุปที่อยู่ในขอบเขตข อ่านเพิ่มเติม
การให้เหตุผลแบบอุปนัย
การให้เหตุผลแบบอุปนัย
เป็นวิธีการสรุปผลมาจากการค้นหาความจริงจากการสังเกตหรือการทดลองหลายครั้งจากกรณีย่อยๆ
แล้วนำมาสรุปเป็นความรู้แบบทั่วไป
การหาข้อสรุปหรือความจริงโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้น ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง
เนื่องจากก อ่านเพิ่มเติม
ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต
ยูเนียน อินเตอร์เซกชัน และคอมพลีเมนต์ของเซต
เป็นส่วนหนึ่งของการกระทำระหว่างเซต
เรานิยมเขียนออกมาในสองรูปแบบด้วยกันคือแบบสมการ และแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์
เราลองมาดูกันครับว่ายูเนียน อินเตอร์เซกชัน และค อ่านเพิ่มเติม
สับเซตและเพาเวอร์เซต
สับเซตและเพาเวอร์เซต เป็นหัวข้อหนึ่งจากบทเรียนเรื่อง เซต
ในวิชาคณิตศาสตร์ ม.4 ซึ่งจะมีนิยาม และสมบัติของมัน
เราลองมาเรียนกันครับว่าสับเซตและเพาเวอร์เซตเป็นอย่างไร
เอกภพสัมพัทธ์
เอกภพสัมพัทธ์ คือ เซตที่ถูกกำหนดขึ้นโดยมีข้อตกลงว่า
จะกล่าวถึงสิ่งที่เป็นสมาชิกของเซตนี้เท่านั้น
จะไม่กล่าวถึงสิ่งอื่นใดที่ไม่เป็นสมาชิกของเซตนี้ โดยทั่วไปจะใช้สัญลักษณ์
แทนเซตที่เป็นเอกภพสัมพัทธ์
เซต
เซต เป็นคำที่ไม่ให้ให้นิยาม (Undefined Term) เรามักใช้เซตแทนสิ่งที่อยู่ร่วมกัน
ซึ่งหมายถึงกลุ่มของสิ่งต่างๆ ที่เราสามารถกำหนดสมาชิกได้ชัดเจน (Well-Defined)
หรือก็คือความหมายของเซตนั่นเอง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)